EXCEL TOOLS
Excel Add-ins ที่พัฒนาโดยคุณสันติพงศ์ ณสุย (MVP Excel 2010-2020) ด้วยภาษา C# เพื่อแก้ไขปัญหาไฟล์ใหญ่ คำนวณนาน ทำงานช้า จัดการข้อมูลต่าง ๆ ที่ทำงานประจำวันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว สนใจคลิกไปดูได้ที่นี่ครับ => Excel Tools
Excel Add-ins ที่พัฒนาโดยคุณสันติพงศ์ ณสุย (MVP Excel 2010-2020) ด้วยภาษา C# เพื่อแก้ไขปัญหาไฟล์ใหญ่ คำนวณนาน ทำงานช้า จัดการข้อมูลต่าง ๆ ที่ทำงานประจำวันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว สนใจคลิกไปดูได้ที่นี่ครับ => Excel Tools
[code]
และปิดด้วย [/code]
ตัวอย่างเช่น [code]dim r as range[/code]
เพื่อให้แตกต่างจากข้อความทั่วไป สะดวกในการอ่านและทดสอบ (คลิกเพื่อดูตัวอย่าง)จะบอกว่าเหมือนก็ไม่ใช่ จะบอกว่าได้ก็ไม่เชิง ลองไปทำความเข้าใจเรื่องการตรึงเซลล์ เรื่อง Row และการใช้สูตร Countif อีกครั้งครับ หากให้อธิบายอีกครั้ง คงยาวยืดครับ เพราะมันต้องนำหลายๆเรื่องมาเชื่อมกัน=Countif(A$2:A2,A2)>1 และสูตร =IF(COUNTIF($A$1:$A4,A4)=1,TRUE,"")
สูตรแรก ให้ตรวจที่เซลล์ A2:A2 พอเข้าใจ
แต่ทำไม
สูตรที่สองกลับ อ้างอิง เซลล์ A1:A4 ถ้าเราอ้างอิง เซลล์ A2:A2 เหมือนกันจะได้ไม๊ครับ ลองทำเล่นมันไม่ได้
เลยอยากทราบว่าหลักการคิดคิดได้ยังไงครับ
ขอบคุณครับ จะไปทำความเข้าใจเองตามที่แนะนำครับbank9597 wrote:จะบอกว่าเหมือนก็ไม่ใช่ จะบอกว่าได้ก็ไม่เชิง ลองไปทำความเข้าใจเรื่องการตรึงเซลล์ เรื่อง Row และการใช้สูตร Countif อีกครั้งครับ หากให้อธิบายอีกครั้ง คงยาวยืดครับ เพราะมันต้องนำหลายๆเรื่องมาเชื่อมกัน=Countif(A$2:A2,A2)>1 และสูตร =IF(COUNTIF($A$1:$A4,A4)=1,TRUE,"")
สูตรแรก ให้ตรวจที่เซลล์ A2:A2 พอเข้าใจ
แต่ทำไม
สูตรที่สองกลับ อ้างอิง เซลล์ A1:A4 ถ้าเราอ้างอิง เซลล์ A2:A2 เหมือนกันจะได้ไม๊ครับ ลองทำเล่นมันไม่ได้
เลยอยากทราบว่าหลักการคิดคิดได้ยังไงครับ
ทั้งสองสูตรถ้าเขียนที่ตำแหน่งเซลล์เดียวกันสูตร CountIf ในชุดหลังจะต้องอ้างอิงช่วงเซลล์เหมือนกับสูตรหน้าทุกประการซำเหมา wrote:จากสูตร
=Countif(A$2:A2,A2)>1 และสูตร =IF(COUNTIF($A$1:$A4,A4)=1,TRUE,"")
สูตรแรก ให้ตรวจที่เซลล์ A2:A2 พอเข้าใจ
แต่ทำไม
สูตรที่สองกลับ อ้างอิง เซลล์ A1:A4 ถ้าเราอ้างอิง เซลล์ A2:A2 เหมือนกันจะได้ไม๊ครับ ลองทำเล่นมันไม่ได้
เลยอยากทราบว่าหลักการคิดคิดได้ยังไงครับ
Excel มีแค่ 2 แนวในการอ้างอิง คือ คอลัมน์และแถว การตรึง (Lock) คอลัมน์และแถวจะใช้เครื่องหมาย $ เข้ามาช่วยซำเหมา wrote:อย่างเรื่องใส่ $ ไม่ให้สูตรเลื่อนก็ไม่เข้าใจว่า ใส่ยังไง จำเป็นไม๊ บอกให้ใส่ก็ใส่ไปก่อนแต่พอถึงสูตรตัวเองไม่รู้จะใส่ตรงไหน
ขอบคุณมากครับ อาจารย์ ผมจะค่อยๆนำไปใช้งานครับ ตอนนี้ก็ยังทบทวนเรื่อยๆ บางที่ก็งงเหมือนกัน เช่นคำสั่ง vlookupผมว่าบางทีผมก็งง เช่นเวลาอ้างอิง คอลัมน์แรก จะต้องอ้างอิง ทั้งคอลัมน์ บางทีผมลองฝึกใช้งานดูอ้างอิงแค่บรรทัดแรกค่าออกมาเพี้ยนไปหมด กว่าจะเข้าที่ก็ใช้เวลาสักพัก คนที่ไม่เก่งคำนวณ ผมว่าปัญหาเยอะมาก แต่ครั้นจะไปให้ใครเขาทำให้ก็หาคนทำยากครับ โชคดีมีเวบไซด์นี้ ช่วยได้เยอะมากๆ เหมือนมีเทวดามาช่วยจริงๆ อันนี้ผมไม่ได้อ้างเกินเหตุนะครับ เพราะพอเริ่มใช้ได้บ้างงานสบายขึ้นเยอะเลย ขอบคุณจริงๆครับที่มีเวบดีๆคนดีๆคอยแนะนำช่วยเหลือsnasui wrote:ทั้งสองสูตรถ้าเขียนที่ตำแหน่งเซลล์เดียวกันสูตร CountIf ในชุดหลังจะต้องอ้างอิงช่วงเซลล์เหมือนกับสูตรหน้าทุกประการซำเหมา wrote:จากสูตร
=Countif(A$2:A2,A2)>1 และสูตร =IF(COUNTIF($A$1:$A4,A4)=1,TRUE,"")
สูตรแรก ให้ตรวจที่เซลล์ A2:A2 พอเข้าใจ
แต่ทำไม
สูตรที่สองกลับ อ้างอิง เซลล์ A1:A4 ถ้าเราอ้างอิง เซลล์ A2:A2 เหมือนกันจะได้ไม๊ครับ ลองทำเล่นมันไม่ได้
เลยอยากทราบว่าหลักการคิดคิดได้ยังไงครับExcel มีแค่ 2 แนวในการอ้างอิง คือ คอลัมน์และแถว การตรึง (Lock) คอลัมน์และแถวจะใช้เครื่องหมาย $ เข้ามาช่วยซำเหมา wrote:อย่างเรื่องใส่ $ ไม่ให้สูตรเลื่อนก็ไม่เข้าใจว่า ใส่ยังไง จำเป็นไม๊ บอกให้ใส่ก็ใส่ไปก่อนแต่พอถึงสูตรตัวเองไม่รู้จะใส่ตรงไหน
รูปแบบการตรึงจะเป็นตามด้านล่าง
=$A1 หมายถึงจะตรึงคอลัมน์ A ให้คงที่ไม่ว่าจะ Copy ไปยังคอลัมน์ใด ๆ หรือบรรทัดใด ก็จะอ้างอิงคอลัมน์ A ตลอดกาล ส่วนบรรทัดจะผันแปรไปตามบรรทัดที่นำไปวาง
=A$1 หมายถึงจะตรึงบรรทัดที่ 1 ให้คงที่ไม่ว่าจะ Copy ไปยังคอลัมน์ใด ๆ หรือบรรทัดใด ก็จะอ้างอิงบรรทัดที่ 1 ตลอดกาล ส่วนคอลัมน์จะผันแปรไปตามคอลัมน์ที่นำไปวาง
=$A$1 หมายถึงจะตรึงคอลัมน์ A และบรรทัดที่ 1 ให้คงที่ไม่ว่าจะ Copy ไปยังคอลัมน์ใด ๆ หรือบรรทัดใด ก็จะอ้างอิงถึงเซลล์ A1 ตลอดกาล
=A1 หมายถึงไม่มีการตรึงบรรทัดและคอลัมน์ หากมีการ Copy ไปวางในคอลัมน์ใด ๆ บรรทัดใด ๆ ก็จะผันแปรไปตามคอลัมน์นั้น ๆ บรรทัดนั้น ๆ
ขอบคุณอาจารย์อีกท่านครับ แต่ละท่านก็จะมีวิธีการทำให้ผมเรียนรู้ได้หลายทางครับ ตอนนี้ผมก็พอทราบว่า แค่ตัว $ ก็ใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น =A$1 ตรึงบรรทัดที่ 1 ให้คงที่ ทำให้เราอ้างอิง ค่าที่ค้นหาเทียบค่าปัจจุบันกับค่าตั้งแต่บรรทัดที่1 ลงมายังค่าปัจจุบัน ถ้าอาจารย์ไม่อธิบายเพิ่มผมก็คงยังไม่ได้สนใจแค่รู้ว่า $ใช้ตรึงเซลล์แต่ไม่รู้ว่า ตรึงได้ทั้งคอลัมน์ทั้งบรรทัดเลย เยี่ยมครับbank9597 wrote: เป็นกำลังใจให้อีกแรงครับ
อ่านที่ผมอธิบายไว้ด้านบนน่าจะครอบคลุมแล้วครับ การอธิบายการตรึงควรอ้างคอลัมน์และบรรทัดเพื่อไม่ให้สับสนครับbank9597 wrote:ตัว $ มีประโยชน์มากครับ ต้องใช้ให้เป็น ไม่ใช่แค่ A$1 ที่ดีที่สุด แต่จะขึ้นอยู่กับการใช้งาน เช่น
$A1 คือ ตรึงให้อยู่ที่คอลัมน์ไหนก็คอลัมน์นั้น สามารถคัดลอกลงล่างได้ โดยลำดับเซลล์จะเปลี่ยนไป แต่หากคัดลอกไปทางด้านข้าง คอลัมน์จะไม่เปลี่ยนแปลง
$A$1 แบบนี้คืออยู่กับที่ ไม่เลื่อนไปไหน ไม่ว่าจะคัดลอกสูตรไปทิศทางใดก็ตาม
A$1 แบบนี้คือตรึงให้อยู่ที่เดิม แต่หากคัดลอกไปทางข้าง ไม่ว่าซ้ายหรือขวา คอลัมน์จะเปลี่ยนทันที แต่เซลล์ไม่เปลี่ยน
ขอบคุณครับbank9597 wrote: อยากทราบสูตรเรื่องใดเป็นพิเศษสามารถเข้าไปอ่านได้ที่ http://office.microsoft.com/th-th/excel ... spx?CTT=97
หรือ http://snasui.blogspot.com/
หรือตั้งคำถามในฟอรั่มแห่งนี้เลยครับ
ตัว $ มีประโยชน์มากครับ ต้องใช้ให้เป็น ไม่ใช่แค่ A$1 ที่ดีที่สุด แต่จะขึ้นอยู่กับการใช้งาน เช่น
$A1 คือ ตรึงให้อยู่ที่คอลัมน์ไหนก็คอลัมน์นั้น สามารถคัดลอกลงล่างได้ โดยลำดับเซลล์จะเปลี่ยนไป แต่หากคัดลอกไปทางด้านข้าง คอลัมน์จะไม่เปลี่ยนแปลง
$A$1 แบบนี้คืออยู่กับที่ ไม่เลื่อนไปไหน ไม่ว่าจะคัดลอกสูตรไปทิศทางใดก็ตาม
A$1 แบบนี้คือตรึงให้อยู่ที่เดิม แต่หากคัดลอกไปทางข้าง ไม่ว่าซ้ายหรือขวา คอลัมน์จะเปลี่ยนทันที แต่เซลล์ไม่เปลี่ยน
ครับ ผมก็ว่าดีนะอธิบายเป็นบรรทัด จำได้ว่า เคยอ่านแล้วสับสนเรื่องคอลัมน์พอเข้าใจ แต่พอคำว่าเซลล์มันพาลจะเข้าใจว่าอันไหนแนวตั้งอันไหนแนวนอน งง ขอบคุณครับ เดี๋ยวไปเล่นต่อครับ เพราะยังรู้สึกว่าเหลือเชื่อ คำสั่ง countif และ ตัว $ ทำให้ผมเห็นประโยชน์เอ๊กเซลอีกโขเลย ปกติต้องพึ่งโปรแกรมเมอร์ งัอแล้วงัออีกไม่ทำให้ จ้างก็ไม่ทำ จริงๆงานไม่ได้มากมายอะไร ตอนนี้พอมีอาจารย์คอยช่วย เลยใช้งานได้ เบาสายตาไปเยอะครับ ขอบคุณจริงๆครับsnasui wrote:อ่านที่ผมอธิบายไว้ด้านบนน่าจะครอบคลุมแล้วครับ การอธิบายการตรึงควรอ้างคอลัมน์และบรรทัดเพื่อไม่ให้สับสนครับbank9597 wrote:ตัว $ มีประโยชน์มากครับ ต้องใช้ให้เป็น ไม่ใช่แค่ A$1 ที่ดีที่สุด แต่จะขึ้นอยู่กับการใช้งาน เช่น
$A1 คือ ตรึงให้อยู่ที่คอลัมน์ไหนก็คอลัมน์นั้น สามารถคัดลอกลงล่างได้ โดยลำดับเซลล์จะเปลี่ยนไป แต่หากคัดลอกไปทางด้านข้าง คอลัมน์จะไม่เปลี่ยนแปลง
$A$1 แบบนี้คืออยู่กับที่ ไม่เลื่อนไปไหน ไม่ว่าจะคัดลอกสูตรไปทิศทางใดก็ตาม
A$1 แบบนี้คือตรึงให้อยู่ที่เดิม แต่หากคัดลอกไปทางข้าง ไม่ว่าซ้ายหรือขวา คอลัมน์จะเปลี่ยนทันที แต่เซลล์ไม่เปลี่ยน