คำนวณเวลาการผลิต โดยไม่นับเวลาพักวันหยุดวันอาทิตย์ และวันนักขัตฤกษ์
Posted: Mon Jan 06, 2025 3:59 pm
สวัสดีครับอาจารย์ ขอความช่วยเหลือตามหัวข้อกระทู้ดังนี้ครับ
เวลาทำงานของบริษัทแห่งหนึ่ง กะเช้าเริ่มงานเวลา 8:00 น. ถึงเวลา 17:00 น.
กะดึกเริ่มงานเวลา 20:00 น. ถึงเวลา 05:00 น. โดยกะเช้าและกะดึก จะมีวันหยุดวันอาทิตย์ และวันนักขัตฤกษ์
ถ้างานไม่ทันหรือเกินกำลังการผลิต ถึงจะเปิด OT (แต่เวลาจะทับซ้อนกันเล็กน้อย)
ซึ่งโจทย์ก็คือต้องการนับเวลาที่ใช้ไปโดยนับจากจุดเริ่มต้น มีเงื่อนไขการนับเวลาดังนี้
1. ไม่นับเวลาพักและวันหยุดวันอาทิตย์ และวันนักขัตฤกษ์
2. ชิ้นงานบางตัว จะมีการต่อ Process เช่น ทำงานที่เครื่องจักร 1 เสร็จ ถึงจะให้เวลาไปรันต่อที่เครื่องจักร 2 (จุดสังเกตุ คือ ชื่อ dwg. และ ตรง Remark จะตรงกันทั้ง 2 ช่อง)
3. สามารถสลับการคำนวนการปิดกะได้ เช่นกำลังการผลิตน้อย จากเปิดกะเช้าและดึก ให้เหลือเปิดแค่กะเช้า กรณีเกินกำลังการผลิตให้เปิด OT
4. ถ้างานไม่ทันหรือเกินกำลังการผลิต ถึงจะให้เปิด OT (แต่เวลาจะทับซ้อนกันเล็กน้อย)
ตัวอย่าง
1. พาร์ท A มีเวลาทำงาน 80 นาที ที่เครื่องจักร 1 เริ่มทำงานวันที่ 4/1/2025 เวลา 04.00 งานจริงจะเสร็จวันที่ 6/1/2025 เวลา 08.20
2. พาร์ท B มีเวลาทำงาน 60 นาที ที่เครื่องจักร 1 เริ่มทำงานวันที่ 4/1/2025 เวลา 12.40 งานจริงจะเสร็จวันที่ 4/1/2025 เวลา 13.40 และส่งไปที่เครื่องจักร 2 (หัวข้อ 2.1)
2.1 พาร์ท B มีเวลาทำงาน 30 นาที ที่เครื่องจักร 2 เริ่มทำงานวันที่ 4/1/2025 เวลา 13.40 งานจริงจะเสร็จวันที่ 4/1/2025 เวลา 14.10
3. กรณีที่คำนวนกำลังการผลิตแล้วต่อ1 เครื่องจักร 1 อาทิตย์ = 5760 นาที (ถ้าอาทิตย์ที่มีการผลิตน้อยกว่า 2880 นาที สามารถยุบกะได้ ถ้าเกิน 5760 นาที ต้องเปิด OT)
เวลาทำงานของบริษัทแห่งหนึ่ง กะเช้าเริ่มงานเวลา 8:00 น. ถึงเวลา 17:00 น.
กะดึกเริ่มงานเวลา 20:00 น. ถึงเวลา 05:00 น. โดยกะเช้าและกะดึก จะมีวันหยุดวันอาทิตย์ และวันนักขัตฤกษ์
ถ้างานไม่ทันหรือเกินกำลังการผลิต ถึงจะเปิด OT (แต่เวลาจะทับซ้อนกันเล็กน้อย)
ซึ่งโจทย์ก็คือต้องการนับเวลาที่ใช้ไปโดยนับจากจุดเริ่มต้น มีเงื่อนไขการนับเวลาดังนี้
1. ไม่นับเวลาพักและวันหยุดวันอาทิตย์ และวันนักขัตฤกษ์
2. ชิ้นงานบางตัว จะมีการต่อ Process เช่น ทำงานที่เครื่องจักร 1 เสร็จ ถึงจะให้เวลาไปรันต่อที่เครื่องจักร 2 (จุดสังเกตุ คือ ชื่อ dwg. และ ตรง Remark จะตรงกันทั้ง 2 ช่อง)
3. สามารถสลับการคำนวนการปิดกะได้ เช่นกำลังการผลิตน้อย จากเปิดกะเช้าและดึก ให้เหลือเปิดแค่กะเช้า กรณีเกินกำลังการผลิตให้เปิด OT
4. ถ้างานไม่ทันหรือเกินกำลังการผลิต ถึงจะให้เปิด OT (แต่เวลาจะทับซ้อนกันเล็กน้อย)
ตัวอย่าง
1. พาร์ท A มีเวลาทำงาน 80 นาที ที่เครื่องจักร 1 เริ่มทำงานวันที่ 4/1/2025 เวลา 04.00 งานจริงจะเสร็จวันที่ 6/1/2025 เวลา 08.20
2. พาร์ท B มีเวลาทำงาน 60 นาที ที่เครื่องจักร 1 เริ่มทำงานวันที่ 4/1/2025 เวลา 12.40 งานจริงจะเสร็จวันที่ 4/1/2025 เวลา 13.40 และส่งไปที่เครื่องจักร 2 (หัวข้อ 2.1)
2.1 พาร์ท B มีเวลาทำงาน 30 นาที ที่เครื่องจักร 2 เริ่มทำงานวันที่ 4/1/2025 เวลา 13.40 งานจริงจะเสร็จวันที่ 4/1/2025 เวลา 14.10
3. กรณีที่คำนวนกำลังการผลิตแล้วต่อ1 เครื่องจักร 1 อาทิตย์ = 5760 นาที (ถ้าอาทิตย์ที่มีการผลิตน้อยกว่า 2880 นาที สามารถยุบกะได้ ถ้าเกิน 5760 นาที ต้องเปิด OT)